วันที่ 19 มีนาคม พ.ศ.2555
สอบสอน
แฟ้มสะสมงานรายวิขาการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันพฤหัสบดีที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2555
วันอาทิตย์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2555
ครั้งที่ 13
วันที่ 28 กุมภาพันธุ์ พ.ศ. 2555
1.การวัด
- ส่วนสูง
- น้ำหนัก
- พื้นที่
- ตวง
- ชั่ง
2.ความหมายของปริมาณ คือเงิน ห่วยของมันคือ บาท
3.เลขาคณิต
- รูปทรง เช่น ภาพ 2 มิติ 3 มิติ มุม ด้าน
- ตำแหน่ง เช่น ขอบ ริม
- ระยะทาง เช่น ใกล้ไกล
4.ทิศทาง
- ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตกเป็นต้น
5พีชคณิต คือความสัมพันธุ์ของสิ่งของ
อาจารณืได้ยกตัวอย่างกระดานความสัมพันธ์ให้ดู
1.การวัด
- ส่วนสูง
- น้ำหนัก
- พื้นที่
- ตวง
- ชั่ง
2.ความหมายของปริมาณ คือเงิน ห่วยของมันคือ บาท
3.เลขาคณิต
- รูปทรง เช่น ภาพ 2 มิติ 3 มิติ มุม ด้าน
- ตำแหน่ง เช่น ขอบ ริม
- ระยะทาง เช่น ใกล้ไกล
4.ทิศทาง
- ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตกเป็นต้น
5พีชคณิต คือความสัมพันธุ์ของสิ่งของ
อาจารณืได้ยกตัวอย่างกระดานความสัมพันธ์ให้ดู
ครั้งที่ 12
วันที่ 21 กุมภาพันธุ์ พ.ศ.2555
วันนี้อาจารย์ได้สนทนาการเขียนแผนเป็นรายกลุ่ม เพื่อให้คำแนะนำและแก้ไขให้ถูกต้อง
วันนี้อาจารย์ได้สนทนาการเขียนแผนเป็นรายกลุ่ม เพื่อให้คำแนะนำและแก้ไขให้ถูกต้อง
ครั้งที่ 10
วันที่ 7 กุมภาพันธุ์ พ.ศ. 2555
อาจารย์พูดถึงการสอน
ยกตัวอย่างของเพื่อน
ขั้นนำ เริ่มด้วยการทักทาย สงบเด็ก ท่องคำคล้องจอง การถามคำถามต้องมีเนื้อหาที่เกี่ยวกับคำคล้องจองด้วย เช่น "เด็กๆรู้ไหมคะว่านมทำมาจากอะไรบ้าง"( เป็นคำถามปรายเปิด ) "นมที่ทำจากสัตว์มีอะไรบ้าง"
ขั้นสอน
-ภาพที่ 1 ภาพคนรีดนมวัว ถามเด็กว่า"ภาพนี้เขาทำอะไร เด็กๆพูดตามสิคะ รีดนมวัว
-ครูนำนมจากพืชและสัตว์ที่เตรียมไว้มาให้เด็กดู( การสังเกต )
-หาวิธีการทดลองมาให้เด็กดูเชิงวิทยาศาสตร์
-จัดประเภทนม คละนม 6 แก้ว มีนมจากพืช+จากสัตว์
-ติดรูปภาพนมจากพืชและสัตว์ไว้ที่แก้ว แล้วให้เด้กทายว่านี่คือนมอะไร ถ้าเด็กตอบถูกให้พูดว่า "ไชโย" ถ้าตอบผิดใหพูดว่า "แบ่ว"
อาจารย์พูดถึงการสอน
ยกตัวอย่างของเพื่อน
ขั้นนำ เริ่มด้วยการทักทาย สงบเด็ก ท่องคำคล้องจอง การถามคำถามต้องมีเนื้อหาที่เกี่ยวกับคำคล้องจองด้วย เช่น "เด็กๆรู้ไหมคะว่านมทำมาจากอะไรบ้าง"( เป็นคำถามปรายเปิด ) "นมที่ทำจากสัตว์มีอะไรบ้าง"
ขั้นสอน
-ภาพที่ 1 ภาพคนรีดนมวัว ถามเด็กว่า"ภาพนี้เขาทำอะไร เด็กๆพูดตามสิคะ รีดนมวัว
-ครูนำนมจากพืชและสัตว์ที่เตรียมไว้มาให้เด็กดู( การสังเกต )
-หาวิธีการทดลองมาให้เด็กดูเชิงวิทยาศาสตร์
-จัดประเภทนม คละนม 6 แก้ว มีนมจากพืช+จากสัตว์
-ติดรูปภาพนมจากพืชและสัตว์ไว้ที่แก้ว แล้วให้เด้กทายว่านี่คือนมอะไร ถ้าเด็กตอบถูกให้พูดว่า "ไชโย" ถ้าตอบผิดใหพูดว่า "แบ่ว"
ครั้งที่ 9
วันที่ 31 มกราคม พ.ศ.2555
อาจารย์ให้ส่ง map ที่สั่ง
อาจารย์เริ่มสอนให้ดู Map แล้วถามว่าเห็นแล้วนึกถึงอะไร มีอะไรบ้าง เคยเห็นที่ไหนบ้าง
-เป็นการตอบคำถามแบบอิสระ ในการตอบ เป็นคำถามปลายเปิด ทำให้เด็กกล้าแสดงความคิดเห็น เกิดการคิด เด็กมีโอกาสในการคิด ถ้าเกิดขึ้นบ่อยๆเด็กจะเกิดความเชื่อมั่นในตนเอง
ประสบการ์ทั้ง 4 ด้าน
ด้านร่างกาย หมายถึง สิ่งที่เด็กได้ลงมือกระทำ
ด้านอารมณ์ หมายถึง แสดงออกทางอารมณ์ความรู้สึก
ด้านสังคม หมายถึง ช่วยเหลือตนเอง และผู้อื่น
ด้านสติปัญญา หมายถึง การคิดกับภาษา
*การคิดสร้างสรรค์
*คิดเชิงเหตุผล
-คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
นิยามของหลักสูตร
หลักสูตร คือ แนวทางในการจัดประสบการณ์ที่ครูวางแผน ในขระเดียวกันคือการวางแผนที่กระทันหันที่เด็กอยากรู้ โดยต้องให้เด็กลงมือกระทำ เพื่อสงเสริมพัมนาการทั้ง 4 ด้าน
* มาตรฐานการเรียนรู้คือ เกณฑ์การประเมินขั้นต่ำทางด้านคณิตศาสตร์ กำหนดโดย สสวท.
การเรียนรู้คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
การรับรู้ คือ การซึมซับ รับความรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ทางด้านคณิตศาสตร์ สำหรับเด็กปฐมวัย
- ตัวเลข
- รูปทรง
- ขนาด
- เวลา
- ชั่ง
- ตวง
- นับ
- การจัดหมวดหมู่
- เปรียบเทียบ
- เลียงลำดับ
- จำนวน
อาจารย์ให้ส่ง map ที่สั่ง
อาจารย์เริ่มสอนให้ดู Map แล้วถามว่าเห็นแล้วนึกถึงอะไร มีอะไรบ้าง เคยเห็นที่ไหนบ้าง
-เป็นการตอบคำถามแบบอิสระ ในการตอบ เป็นคำถามปลายเปิด ทำให้เด็กกล้าแสดงความคิดเห็น เกิดการคิด เด็กมีโอกาสในการคิด ถ้าเกิดขึ้นบ่อยๆเด็กจะเกิดความเชื่อมั่นในตนเอง
ประสบการ์ทั้ง 4 ด้าน
ด้านร่างกาย หมายถึง สิ่งที่เด็กได้ลงมือกระทำ
ด้านอารมณ์ หมายถึง แสดงออกทางอารมณ์ความรู้สึก
ด้านสังคม หมายถึง ช่วยเหลือตนเอง และผู้อื่น
ด้านสติปัญญา หมายถึง การคิดกับภาษา
*การคิดสร้างสรรค์
*คิดเชิงเหตุผล
-คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
นิยามของหลักสูตร
หลักสูตร คือ แนวทางในการจัดประสบการณ์ที่ครูวางแผน ในขระเดียวกันคือการวางแผนที่กระทันหันที่เด็กอยากรู้ โดยต้องให้เด็กลงมือกระทำ เพื่อสงเสริมพัมนาการทั้ง 4 ด้าน
* มาตรฐานการเรียนรู้คือ เกณฑ์การประเมินขั้นต่ำทางด้านคณิตศาสตร์ กำหนดโดย สสวท.
การเรียนรู้คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
การรับรู้ คือ การซึมซับ รับความรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ทางด้านคณิตศาสตร์ สำหรับเด็กปฐมวัย
- ตัวเลข
- รูปทรง
- ขนาด
- เวลา
- ชั่ง
- ตวง
- นับ
- การจัดหมวดหมู่
- เปรียบเทียบ
- เลียงลำดับ
- จำนวน
ครั้งที่ 8
วันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2555
อาจาร์พูดถึงเรื่องที่ไปสังเกตการสอน
*เจอเรื่องอะไรบ้าง
- ด้านคณิตศาสตร์มีอะไรบ้างในแต่ละโรงเรียน
- พูดถึงความรับผิดชอบของครูผู้สอน
- ให้คำปรึกษา
*เริ่มเรียน
อาจารย์ให้เข้าไปสมัครเว็บ โทรทัศน์ครู แล้วหาข้อมูลทางคิตศาสตร์
*สั่งงาน
* การสงบเด็ก คือ การเตรียมตัวเด็กก่อนเข้าสู่บทเรียน
อาจารย์ พูดดถึง การสนทนาและการใช้คำถามกับเด็กอะไรดีกว่ากันในขั้นนำ
ตอบ กรใช้คำถาม เพราะ การที่ถามเด็กจะเกิดการคิด ทำให้เด็กได้รู้ว่าจะเรีนอะไร เกิดการอยากเรียนรู้ เกิดการ เอ๊ะ อ๊ะ โอ๊ะ
การได้รับคณิตศาสตร์จากการเรียน ( หน่วยฝน )
- คำจากเพลง เช่น ซ่าๆ
- จำนวนของอุปกรณ์เช่น การนับจำนวนอุปกรณ์ เรียงลำดับ
- การจัดหมวดหมู่ อุปกรณ์ เช่น อุปกรณ์อะไรที่ต้องซื้อและหาได้ยาก อุปกรณ์ชิ้นไหนไม่ได้ซื้อ นี่คือการเกิดความร้ทางคณิตศาสตร์
วางแผนการสอนคนละ 10 นาที
อาจาร์พูดถึงเรื่องที่ไปสังเกตการสอน
*เจอเรื่องอะไรบ้าง
- ด้านคณิตศาสตร์มีอะไรบ้างในแต่ละโรงเรียน
- พูดถึงความรับผิดชอบของครูผู้สอน
- ให้คำปรึกษา
*เริ่มเรียน
อาจารย์ให้เข้าไปสมัครเว็บ โทรทัศน์ครู แล้วหาข้อมูลทางคิตศาสตร์
*สั่งงาน
* การสงบเด็ก คือ การเตรียมตัวเด็กก่อนเข้าสู่บทเรียน
อาจารย์ พูดดถึง การสนทนาและการใช้คำถามกับเด็กอะไรดีกว่ากันในขั้นนำ
ตอบ กรใช้คำถาม เพราะ การที่ถามเด็กจะเกิดการคิด ทำให้เด็กได้รู้ว่าจะเรีนอะไร เกิดการอยากเรียนรู้ เกิดการ เอ๊ะ อ๊ะ โอ๊ะ
การได้รับคณิตศาสตร์จากการเรียน ( หน่วยฝน )
- คำจากเพลง เช่น ซ่าๆ
- จำนวนของอุปกรณ์เช่น การนับจำนวนอุปกรณ์ เรียงลำดับ
- การจัดหมวดหมู่ อุปกรณ์ เช่น อุปกรณ์อะไรที่ต้องซื้อและหาได้ยาก อุปกรณ์ชิ้นไหนไม่ได้ซื้อ นี่คือการเกิดความร้ทางคณิตศาสตร์
วางแผนการสอนคนละ 10 นาที
ครั้งที่ 7
วันที่ 17 มกาคม พ.ศ.2555 สังเกตการสอนที่ โรงเรียนพระยาประเสริฐสุนทราศรัย(กระจ่างสิงหเสนี)
วันพุธที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
ครั้งที่ 4
วันอังคารที่ 27 ธันวาคม 2554
ทบทวน เรื่อง ... เครื่องมือที่ใช้ในการเรียนรู้ คือ ภาษา
พัฒนาการทางด้านต่างๆเช่น ด้านอารมณ์ สังคม สติปัญญา ร่างกาย
อาจารย์เริ่มให้เขียนแผนในหน่วยที่ตนเองรับผิดชอบ
ทบทวน เรื่อง ... เครื่องมือที่ใช้ในการเรียนรู้ คือ ภาษา
พัฒนาการทางด้านต่างๆเช่น ด้านอารมณ์ สังคม สติปัญญา ร่างกาย
อาจารย์เริ่มให้เขียนแผนในหน่วยที่ตนเองรับผิดชอบ
ครั้งที่ 3
วันอังคารที่ 20 ธันวาคม พ.ศ.2554
ร่างกาย - กีเซล
อารมณ์
สังคม
คุณธรรม จริยธรรม
สติปัญญา
แรงเสริมทางบวก และแรงเสริมทางลบ
จิตวิทยาการเรียนรู้
การใช้คำชม ความพอใจ
แนวคิดนักการศึกษา
*เด็กเรียนรู้ผ่านการเล่น การลงมือปฏิบัติ
*การปฏิบัติตามแผนของครู ผ่านการเล่นของเล่น
*เลินนิวบายดูอี้ เรียนรู้จากการกระทำลองผิดลองถูก
ลำดับทางคณิตศาสตร์
1.การนับ ( Counting ) หมายถึง คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับตัวเลขอันดับแรก ที่เด็กรู้จัก เป็นการนับแบบมีความหมาย เช่น การนับตามลำดับตั้งแต่ 1-10 หรือมากกว่านั้น
2.ตัวเลข ( Numeration ) หมายถึง การให้เด็กรู้จักตัวเลขที่เห็น หรือใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน ด้วยการให้เด็กเล่นของเล่นเกี่ยวกับตัวเลข ให้เด็กได้นับและคิดเอง โดยครูเป็นผู้วางแผนจัดกิจกรรม
3.การจับคู่( Matching ) หมายถึง การฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกตลัษณะต่างๆ และจับคู่สิ่งที่เข้าคู่กัน เหมือนกัน หรืออยู่ในประเภทเดียวกัน
4.กาจัดประเภท ( Classification ) หมายถึง การฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกต
5.การเปรียบเทียบ เช่น หนักกว่า-เบากว่า
6.การจัดลำดับ ( Ordering ) หมายถึง การจัดสิ่งของชุดหนึ่งตามลำดับ
7.รูปทรงและเนื้อที่ ( ) เรียนรู้เรื่องรูปทรงแคบกว้าง ลึกตื้น
8.การวัด ( Measurement ) หมายถึง เด็กได้มีโอกาสวัดด้วยตนเอง
9.เซท ( Set ) เป็นการสอนเรื่องเซทง่ายๆจากสิ่งรอบตัว และมีการเชื่อมโยงกับสภาพรวม เช่น ช้อนกับซ่อมถือว่าเป็นเซท
10.เศษส่วน ( Fraction ) โดยปกติแล้วการเรียนเศษส่วนมักเริ่มเรียนในชั้นประถมปีที่ 1 แต่ครูปฐมวัยสามารถสอนเด็กปฐมวัยได้
11.การทำตามแบบหรือลวดลาย หมายถึง การพัฒนาให้เด็กจดจำ
12.การอนุรักษณ์ ( Conservation ) เช่นเด็กสามารถบอกว่า "ปริมาณมันคงที่ แม้ว่ารูปทรงจะเปลี่ยนไป" คือเด็กสามารถตอบโดยการใช้เหตุและผลได้
ร่างกาย - กีเซล
อารมณ์
สังคม
คุณธรรม จริยธรรม
สติปัญญา
แรงเสริมทางบวก และแรงเสริมทางลบ
จิตวิทยาการเรียนรู้
การใช้คำชม ความพอใจ
แนวคิดนักการศึกษา
*เด็กเรียนรู้ผ่านการเล่น การลงมือปฏิบัติ
*การปฏิบัติตามแผนของครู ผ่านการเล่นของเล่น
*เลินนิวบายดูอี้ เรียนรู้จากการกระทำลองผิดลองถูก
ลำดับทางคณิตศาสตร์
1.การนับ ( Counting ) หมายถึง คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับตัวเลขอันดับแรก ที่เด็กรู้จัก เป็นการนับแบบมีความหมาย เช่น การนับตามลำดับตั้งแต่ 1-10 หรือมากกว่านั้น
2.ตัวเลข ( Numeration ) หมายถึง การให้เด็กรู้จักตัวเลขที่เห็น หรือใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน ด้วยการให้เด็กเล่นของเล่นเกี่ยวกับตัวเลข ให้เด็กได้นับและคิดเอง โดยครูเป็นผู้วางแผนจัดกิจกรรม
3.การจับคู่( Matching ) หมายถึง การฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกตลัษณะต่างๆ และจับคู่สิ่งที่เข้าคู่กัน เหมือนกัน หรืออยู่ในประเภทเดียวกัน
4.กาจัดประเภท ( Classification ) หมายถึง การฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกต
5.การเปรียบเทียบ เช่น หนักกว่า-เบากว่า
6.การจัดลำดับ ( Ordering ) หมายถึง การจัดสิ่งของชุดหนึ่งตามลำดับ
7.รูปทรงและเนื้อที่ ( ) เรียนรู้เรื่องรูปทรงแคบกว้าง ลึกตื้น
8.การวัด ( Measurement ) หมายถึง เด็กได้มีโอกาสวัดด้วยตนเอง
9.เซท ( Set ) เป็นการสอนเรื่องเซทง่ายๆจากสิ่งรอบตัว และมีการเชื่อมโยงกับสภาพรวม เช่น ช้อนกับซ่อมถือว่าเป็นเซท
10.เศษส่วน ( Fraction ) โดยปกติแล้วการเรียนเศษส่วนมักเริ่มเรียนในชั้นประถมปีที่ 1 แต่ครูปฐมวัยสามารถสอนเด็กปฐมวัยได้
11.การทำตามแบบหรือลวดลาย หมายถึง การพัฒนาให้เด็กจดจำ
12.การอนุรักษณ์ ( Conservation ) เช่นเด็กสามารถบอกว่า "ปริมาณมันคงที่ แม้ว่ารูปทรงจะเปลี่ยนไป" คือเด็กสามารถตอบโดยการใช้เหตุและผลได้
วันอังคารที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
ครั้งที่ 2
วันอังคารที่ 13 มกราคม พ.ศ.2554
คณิตศาสตร์ คือ สิ่งที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
คณิตศาสตร์อนุบาลและประถม เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ?
*เด็กอนุบาล-รูปภาพของจริง จับต้องได้ ของมีมิติ
*เด็กปฐม-ใช้สัญลักษณ์
พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
1.ด้านสติปัญญา คือ การเปลี่ยนแปลงทางสติปัญญา ที่เป็นไปตามลำดับขั้น( ขั้นบันได )
ตามอายุ( มีความสัมพันธ์ในแต่ละช่วงอายุ )
การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการรับรู้
การทำงานของสมอง
ช่วงอายุ 2-4 ปี เด็กเริ่มใช้คำศัพท์ได้เยอะขึ้น ยังไม่มีเหตุผล
ช่วงอายุ 4-6 ปี เด็กเริ่มมีคำศัพท์มากขึ้น จัดเรียงลำดับได้เป็นประโยคให้มีความหมายมากขึ้น เริ่มมีการใช้เหตุผลมากขึ้น เช่น แก้วน้ำไม่เท่ากันแต่มีปริมาณน้ำเท่ากัน เป็นต้น
พัฒนาการของสมองมี 2 ด้าน คือ
(1) ซึมซับจาการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
(2) ประสบการณ์ใหม่
ซึมซับจากการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 แล้วสอดคล้องกับความรู้เดิมแล้วเกิดเป็นความู้ใหม่
คณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือพัฒนาการของสมอง
-ภาษาคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ที่จำเป็น
-คณิตศาสตร์สำหรับเด็ก เป็นคณิตศาสตร์ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
มาตรฐานมีไว้ ?
ตอบ มีไว้เป็นเกณฑ์วัดคุณภาพ ประเมิน
ครั้งที่ 2
วันอังคารที่ 13 ธันวาคม พ.ศ.2554
บรรยากาศ : วันนี้อาจารย์เปลี่่ยนห้องเรียนจากอาคารสี่มาเรียนที่อาคาร2
บรรยากาศ : วันนี้อาจารย์เปลี่่ยนห้องเรียนจากอาคารสี่มาเรียนที่อาคาร2
คณิตศาสตร์ คือ สิ่งที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
คณิตศาสตร์อนุบาลและประถม เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ?
*เด็กอนุบาล-รูปภาพของจริง จับต้องได้ ของมีมิติ
*เด็กปฐม-ใช้สัญลักษณ์
พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
1.ด้านสติปัญญา คือ การเปลี่ยนแปลงทางสติปัญญา ที่เป็นไปตามลำดับขั้น( ขั้นบันได )
ตามอายุ( มีความสัมพันธ์ในแต่ละช่วงอายุ )
การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการรับรู้
การทำงานของสมอง
ช่วงอายุ 2-4 ปี เด็กเริ่มใช้คำศัพท์ได้เยอะขึ้น ยังไม่มีเหตุผล
ช่วงอายุ 4-6 ปี เด็กเริ่มมีคำศัพท์มากขึ้น จัดเรียงลำดับได้เป็นประโยคให้มีความหมายมากขึ้น เริ่มมีการใช้เหตุผลมากขึ้น เช่น แก้วน้ำไม่เท่ากันแต่มีปริมาณน้ำเท่ากัน เป็นต้น
พัฒนาการของสมองมี 2 ด้าน คือ
(1) ซึมซับจาการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
(2) ประสบการณ์ใหม่
ซึมซับจากการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 แล้วสอดคล้องกับความรู้เดิมแล้วเกิดเป็นความู้ใหม่
คณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือพัฒนาการของสมอง
-ภาษาคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ที่จำเป็น
-คณิตศาสตร์สำหรับเด็ก เป็นคณิตศาสตร์ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
มาตรฐานมีไว้ ?
ตอบ มีไว้เป็นเกณฑ์วัดคุณภาพ ประเมิน
วันจันทร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
ครั้งที่ 1
วันอังคารที่ 6 ธันวาคม พ.ศ.2554
วันนี้เริ่มเรียนวันแรก
รูปแบบการเรียนการสอนเด็กปฐมวัย
หลักสูตร
*หน่วย ( เรื่องที่ใกล้ตัวหรือมีผลกระทบอยู่)
-ประสบการณ์สำคัญ ( เป็นการนำเข้าสู่บทเรียน)
*ทักษะที่สำคัญ
- เครื่องมือทางภาษา
- เครื่องมือของคณิตศาสตร์
*มาตรฐานตัวชี้วัดทางคณิตศาสตร์
งานที่ได้รับมอบหมายในวันนี้ คือให้หานิทานทางคณิตศาสตร์ 1 เรื่อง
วันนี้เริ่มเรียนวันแรก
บรรยากาศ : วันนี้อากาสเย็นสบาย อาจารย์เริ่มพูดคุย
ทักทายนักเรียนด้วยความสนุกสนาน
เรื่องที่เรียน :
อาจารย์เริ่มทบทวนรูปแบบการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็กปฐมวัย
:)) บูรณาการ หมายถึง
การนำศาสตร์หรือความรู้วิชาต่าง ๆ
ที่สัมพันธ์กันนำมาเข้าด้วยกันหรือผสมผสานได้อย่างกลมกลืน
เพื่อนำมาจัดเป็นการเรียนการสอนภายใต้หัวข้อเดียวกัน
เชื่อมโยงกันเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
โดยมีการเน้นองค์รวมของเนื้อหามากกว่าองค์ความรู้ของแต่ละรายวิชา
และเน้นการสร้างความรู้ของผู้เรียนที่มากกว่า
การให้เนื้อหาโดยครูเป็นผู้กำหนด
:)) วอลดอร์ฟ คือ การให้การศึกษาแก่เด็กแบบองค์รวม ทั้ง
Head Heart และ Hand การจัดแผนการเรียนการสอน เป็นการพัฒนาไปตามช่วงอายุ
และสร้างสมดุลย์ระหว่างวิชาการ
ศิลปะและการฝึกฝนด้านการปฏิบัติ
:)) ไฮสโคป
คือ การสร้างองค์ความรู้ของผู้เรียน
ซึ่งเน้นการเรียนรู้แบบลงมือกระทำ
:)) มอนเตสซอรี่ คือ การที่จะช่วยให้มนุษย์มีความสุขทั้งกายและใจอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสงบสุขทั้งการและใจ มีความเมตตากรุณาต่อกันนั้น จำเป็นต้องเริ่มต้นที่การศึกษา ดังนั้นจุดหมายสูงสุดของการศึกษามอนเตสซอรี่คือการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขของมนุษย์
:))
:)) มอนเตสซอรี่ คือ การที่จะช่วยให้มนุษย์มีความสุขทั้งกายและใจอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสงบสุขทั้งการและใจ มีความเมตตากรุณาต่อกันนั้น จำเป็นต้องเริ่มต้นที่การศึกษา ดังนั้นจุดหมายสูงสุดของการศึกษามอนเตสซอรี่คือการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขของมนุษย์
:))
รูปแบบการเรียนการสอนเด็กปฐมวัย
หลักสูตร
*หน่วย ( เรื่องที่ใกล้ตัวหรือมีผลกระทบอยู่)
-ประสบการณ์สำคัญ ( เป็นการนำเข้าสู่บทเรียน)
*ทักษะที่สำคัญ
- เครื่องมือทางภาษา
- เครื่องมือของคณิตศาสตร์
*มาตรฐานตัวชี้วัดทางคณิตศาสตร์
งานที่ได้รับมอบหมายในวันนี้ คือให้หานิทานทางคณิตศาสตร์ 1 เรื่อง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)